การปฏิบัติวิปัสสนา
สอนโดยท่านอาจารย์โกเอ็นก้า
กรรมฐาน
ในแนวทางของท่านซายาจี อูบาขิ่น
ธรรมบรรยายหลักสูตร 10 วัน (ฉบับย่อ)
ในแต่ละวันของการอบรมวิปัสสนาหลักสูตร 10 วัน โดยท่านอาจารย์โกเอ็นก้าและอาจารย์ผู้ช่วย จะมีการบรรยายธรรมทุกวัน และด้านล่างนี้เป็นเนื้อหาโดยย่อของธรรมบรรยายทั้งสิบเอ็ดวัน พร้อมด้วยคำแปลข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์ยกมา รวมทั้งศัพท์ภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์ใช้ในธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายหลักสูตร 10 วัน (ฉบับย่อ)
ความยากลําบากในเบื้องต้น--วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติกรรมฐานด้วยวิธีนี้--ทําไมจึงใช้อานาปานสติเป็นจุดเริ่มต้น--ธรรมชาติของจิต --สาเหตุของความยากลําบากและวิธีการที่จะจัดการกับความยาก ลําบากนั้น--อันตรายที่ต้องหลีกเลี่ยง
คํานิยามของบาปและบุญ--อริยมรรคมีองค์ 8--ศีลและสมาธิ
อริยมรรคมีองค์ 8--ปัญญา แบ่งออกเป็น 3 อย่าง ได้แก่ ปัญญาซึ่งเกิดจากการฟัง การเล่าเรียน ปัญญาซึ่งเกิดจากการคิดพิจารณาหาเหตุผล และปัญญาซึ่งเกิดจากการปฏิบัติภาวนา--กลาปะประกอบด้วยธาตุ 4--ไตรลักษณ์ : อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา--การทะลวงผ่านม่านบังตาของสมมติสัจจะ
คำถามเกี่ยวกับการฝึกวิปัสสนา--กฎแห่งกรรม--ความสําคัญของมโนกรรม--นามประกอบด้วยวิญญาณ สัญญา เวทนา สังขาร--การดํารงสติสัมปชัญญะและอุเบกขา คือหนทางแห่งการพ้นทุกข์
อริยสัจ 4 : ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค--ลูกโซ่แห่งการเกิดที่อาศัยกันและกัน
ความสําคัญในการเจริญสติและอุเบกขาต่อเวทนาต่างๆ--ธาตุ 4 และความเกี่ยวข้องกับเวทนา--เหตุ 4 ประการที่ก่อให้เกิดรูป--นิวรณ์ 5 อันมี ความพอใจในกามคุณ ความพยาบาทคิดร้าย ความหดหู่ซึมเซาง่วงเหงาหาวนอน ความฟุ้งซ่านรําคาญใจ และ ความลังเลสงสัย
ความสําคัญของการวางอุเบกขาต่อความรู้สึกทั้งละเอียดและ หยาบ--ความต่อเนื่องในการเจริญสติ--มิตรทั้ง 5 หรือพละ 5 อันได้แก่ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
กฎของการสั่งสมและการทวนกลับ, กฎแห่งการขจัดสังขาร-อุเบกขาคือคุณธรรมอันสูงสุด--อุเบกขาจะช่วยให้บุคคลดําเนินชีวิตที่ถูกต้อง--การวางอุเบกขาเป็นหลักประกันความสุขในอนาคต
การประยุกต์เทคนิคมาใช้ในชีวิตประจําวัน--บารมี 10
ทบทวนเทคนิคการปฏิบัติ
เราจะปฏิบัติต่อไปอย่างไรภายหลังจากจบหลักสูตรฝึกอบรม
ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายและคำแปลภาษาอังกฤษ
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่สอง
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่สาม
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่สี่
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่ห้า
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่หก
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่เจ็ด
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่แปด
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่เก้า
- ข้อความภาษาบาลีที่ท่านอาจารย์กล่าวถึงในธรรมบรรยายวันที่สิบ
คำศัพท์ภาษาบาลีที่กล่าวถึงในธรรมบรรยาย
คำแปลขั้นตอนพิธีการของหลักสูตร
คำแปลบทสวดระหว่างการปฎิบัติรวม
บทสวดมนต์แปล ภาคเช้า (ภาษาบาลี เป็น ภาษาอังกฤษ)